The Naklua-Pattaya City Walking Street Old Town had begun November,A.D.2010
The old town Naklua sub-district of Pattaya City,Chonburi,Thailand the 2nd, had begun.It's almost 1 year had past this festival had been(21 Nov 2009).We're very love this festival because it's a fantastic and sharming of the people who live in this town too long time ago set a group to offer the good old food and good old handicraft product which we've never see its a long time,also.It's made us throught about the past since a childs ....we'd miss.Thank you very much to Priminister of Pattaya City Hall Khun Aitthipol Khunpruem(Priminister TIK/his nick name) to renew for this festival again.And also the coorporating official who manage this activity all people.This is a supportor of SMEs Pattya Citizens actually,principle the Pattaya City's people are the self business owner(Small and medium of Entreprenures /SMEs).The old town Naklua-Pattaya City fesitival would let the profit become to this city until the end of works.Finally,We'd let the people who may entry to read this post to come to travel to this Fesival.Regarding,
Mr.Sukij (Peter) Boonplok
Author
Tel:+66(0)878330089
+66(0)38731735
e-mail: boontrade@live.com
web-log: https://boontrade.wordpress.com/
P.S.
Naklua-Pattaya City Old Town Festival Start: 06 Nov 2010 - ..... Feb,2011 .
Naklua Sub-district(Pattaya City) history.
Pattaya-Naklua Legend :
Long ago on the South East Asian Peninsula people lived as one. There were no borders and the countries of Thailand, Burma, Cambodia, Malaysia or Singapore were yet to be born. Kingdoms battled for and ruled the land. In the 17th century, there was one powerful kingdom called “Pukam Kingdom” –located in what is now Burma. The Pukam kings often invaded “Ayutthaya Kingdom” –located in the central part of Thailand, because of competition to be the most empowered kingdom in the region.
In 1767 during the fall of Ayutthaya, “Praya Taksin” recruited 500 good soldiers without provisions and fought through the Pukam solider’s siege to fight off the Pukam invaders. They migrated southeast to “Mung Chantanboon” or what is today Chantanburi Province. On the way, Praya Taksin rested his troops at an unknown town in present day Chonburi Province. So, people named it “Tappraya” meaning “Imperial Army”. Seven months after returning to Ayutthaya, Praya Taksin and his troops liberated the kingdom and became a great king in Siam or Thai history. Later on in the early 19th century, “Tappraya” was changed to “Pattaya” for ease of saying.
The most fascinating historical part of Pattaya, however, is in Naklua. Naklua has its own intriguing history. It started as a small fishery village. Chinese merchants who sailed ships from mainland China stopped here to sneak away from the ferocious pirates of Malaya. They dropped off opium, gold, goods and other provisions at this small fishery village before transferring to Bangkok. From then on, the Chinese merchants called the small fishery village “Na-Kua” which in Chinese means “Hard Sail Port”. However, all travelers saw that the village was located in the middle of nowhere and was full of wild fierce animals, abandoned thick canopy rain forests and, of course, ambushing pirates. So, they misunderstood the name of NaKua village to be, “Scary village” which is the meaning in Thai. Later on, the scary village quickly developed into a big community and a town densely populated by people from all over. Then, NaKua in Chinese was changed to “NaKlua” in Thai meaning “Salt farm”. Eventhough Naklua has no salt farms, it does have shellfish farms which have been a cash cow for farmers from generation to generation in Naklua. In more recent years, Naklua’s economy boomed due to its reputation for fresh, tasty seafood and its proximity to the fine beaches which served as an excellent rest and relaxation spot for US army & navy personnel during the Vietnam War. In particular, tourists from all over the world have enjoyed eating and shopping at the markets and local shops in NaKlua for over 50 years.
Modern day Naklua has experienced consistent population growth. There are over 43,000 people and more than 20,000 households divided into four big communities. These communities are referred to by the local residents as “Tarad Kao Naklua” community, “LanPo” community, “Wat ChongRom” community and “Soi PraiSanee” community. These traditional communities serve as an attraction to international tourists who come to enjoy the old town feeling it holds. Also the deeply rooted internationally minded and passionate moral philosophy of the people impresses whoever experiences it. The people’s dedication to their beliefs and traditions can be seen through the vibrant community involvement in the ceremonies to celebrate the Vegetarian season from October 17th-28th every year at the “Shrine of Chinese God” named “SanJao Sain Xui”. More than 10,000 people participate in the ceremonies at the shrine and commit themselves to not eat any meat, wear white cloths, practice meditation and pray for good health, a long life and prosperity forever. The Naklua communities exemplify the spirit of the unknown town that came alive and played a role in saving the kingdom of Thailand. They do this in their actions and the way that they live their lives, holding onto traditions while warmly welcoming the international community to enjoy its leisurely lifestyle.
พัทยา-นาเกลือ ตลาด 100 ปี
นานมาแล้ว ในคาบสมุทรเอเชียตะวันออกฉียงใต้ มีผู้คนอยู่อาศัยโดยยังไม่ได้มีการแบ่งแยกเขตแดนหรือเป็นประเทศอย่างที่เห็นกันอย่างทุกวันนี้ นั่นหมายความว่า ยังไม่มีประเทศที่เรียกว่า ไทย พม่า กัมพูชา มาเลเซีย หรือ สิงค์โปร์ จวบจนมีการรบแย่งชิงอำนาจในแผ่นดินเกิดขึ้น ในศตวรรษที่ 17 มีอาณาจักรหนึ่งที่เรืองอำนาจมาก ชื่อ “อาณาจักรพุกาม” ซึ่งอยูในประเทศพม่าในปัจุบัน อนึ่งมีเรื่องเล่าว่า กษัติย์อาณาจักรพุกามมักกรีฑาทัพพร้อมเสนาสนะเปรียมด้วยแสนยานุภาพมากมายเข้ารุกราน “อาณาจักรอยุธยา” ซึ่งอยู่ในประเทศไทยตอนกลาง เนื่องจากการแข่งขันแย่งชิงอำนาจความเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ปีค.ศ. 1767 เข้าสู่ช่วงล่มสลายของอาณาจักรอยุธยา ระหว่างการรบพุ่งอย่างดุเดือด “พระยาตากสิน” ผู้ซึ่งเห็นว่า ถ้าอยู่รักษาเมืองต่อไป ก็จะไม่เกิดประโยชน์อันใด ครั้นถึงเห็นพม่าตั้งล้อมกระชั้นเข้ามาจวนถึงคูเมือง จึงรวบรวมพรรคพวกได้ประมาณ 500 คน พอตกค่ำก็ยกกำลังตีฝ่าวงล้อมของข้าศึกไปทางทิศตะวันออก หวังกลับมากอบกู้อิสระภาพในภายหน้า ได้มุ่งหน้าไปเมืองจันทบูร หรือ จังหวัดจันทบุรีในปัจุบัน ระหว่างทางพระยาตากสินได้หยุดพักในสถานที่ไม่มีชื่อ ซึ่งภายหลังชาวบ้านเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า “ทัพพระยา” 7 เดือนหลังจากกรุงศรีอยุธยาแตก พระยาตากสินได้กลับไปขับไล่ผู้รุกรานและกอบกู้อิสระภาพได้สำเร็จ โดยพระยาตากสินทรงเป็นกษัติย์องค์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย ในยุคต้นศตวรรษที่ 19 ชื่อเรียก “ทัพพระยา” ได้แผลงคำเป็น “พัทยา”อย่างที่เรียกกันในปัจุบันนี้
ถ้าจริงๆแล้วส่วนที่น่าตื่นตาตื่นใจในประวัติของเมืองพัทยานั้นจะกล่าวนาเกลือก็ไม่ผิดต่อย่างใด โดยนาเกลือเริ่มจากหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆแห่งหนึ่ง เพียงไม่กี่หลังคาเรือนซึ่งพ่อค้าชาวจีนได้ใช้เป็นที่หลบจากโจรสลัดมาลายูที่โหดร้าย เพื่อขนถ่ายสินค้าประเภท ฝิ่น ทองคำและเสบียงคลังอื่นๆก่อนที่จะขนส่งต่อไปกรุงเทพ ซึ่งพ่อค้าชาวจีนเรียกหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆแห่งนี้เป็นภาษาจีนที่ออกเสียงว่า “นา-กัว” แปลว่า “ท่าใบเรือแข็ง” อย่างไรก็ตามคนเดินทางเห็นว่าหมู่บ้านแห่งนี้อยู่ในป่ารกชัก เต็มไปด้วยโรคภัยไข้เจ็บ สัตว์ป่าที่ดุร้าย ทั้งยังเป็นที่ซ่องสุมของโจรสลัด ดังนั้น คนจึงเรียกหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “หมู่บ้านน่ากลัว” ภายหลังชื่อหมู่บ้านน่ากลัวได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น และเมืองในที่สุด หนาแน่นไปด้วยผู้คนมากมาย ดั้งนั้นชื่อเรียกหมู่บ้านน่ากลัวได้แผลงคำเป็น “นาเกลือ” แปลว่าสถานที่ทำนาเกลือ ถึงแม้ความจริงว่า นาเกลือไม่เคยมีใครทำนาเกลือ แต่มีการทำฟาร์มหอยให้ปรากฎเห็นตราบจนทุกวันนี้ และเป็นอาชีพที่ทำรายได้ให้แก่ชาวประมงตั้งแต่รุ่นปู่ ย่า ตา ยาย เป็นต้นมา ภาพรวมเศรษฐกิจของนาเกลือมีความเจริญอย่างต่อเนื่อง ด้วยชื่อเสียงจากการเป็นแหล่งขายอาหารทะเลสด อร่อย อยู่ไม่ไกลจากสถานที่ตากอากาศชายทะเลของทหารอเมริกันในช่วงของสงครามเวียดนาม ตลอดจนนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกได้มาสนุกในการเลือกหา จับจ่ายใช้สอยซื้ออาหารทะเลสดๆติดมือกลับบ้านหรือเป็นของฝากมานานกว่า 50 ปี
นาเกลือวันนี้มีการเติบอย่างต่อเนื่องมีผู้คนอยู่อาศัยมากกว่า 42,000 คน หรือ 20,000 หลังคาเรือน แบ่งออกเป็น 4 ชุมชนใหญ่ ได้แก่ ชุมชนตลาดเก่านาเกลือ ชุมชนลานโพธิ์ ชุมชนวัดช่องลม และชุมชนไปรษณีย์ ซึ่งทั้งหมดเป็นสถานที่ที่ดึงดูนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศด้วยมนต์เสน่ห์แห่งความเป็นมิตรไมตรี ในคุณค่าความเป็นอยู่แบบดั่งเดิมและยั่งรากลึกของภาพสังคมที่สงบสุข โดยร้อยเรียงผ่านขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของท้องถิ่น เฉกเช่นพิธีกรรมแห่งความศรัทธาในเทศกาลกินเจ ณ ศาลเจ้า เซียนซือ ระหว่างวันที่ 18-27 ตุลาคมทุกๆปี โดยมีผู้คนเข้ามากกว่า 10,000 คนตั้งใจร่วมกันแต่งชุดขาว สวดมนต์ ถือศีลกินเจ ทำความดี นั่งสมาธิ ภาวนาขอพรเพื่อสุขภาพที่แข็งแรง อายุยืนยาวนาน และความเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน นาเกลือจากสถานที่ที่ไม่มีชื่อ แต่ชื่อนี้ถือว่าเป็นรากเง่าแห่งความทรงจำของการกอบกู้เอกราชและถ่ายทอดผ่านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในท้องถิ่น จารีตและประเพณีแห่งศรัทธาเพื่อรอคอยผู้ที่จะมาเยือนได้สัมผัสแห่งความยินดี ความอบอุ่นของคนที่นาเกลือ
Saturday, November 6, 2010
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment